เรื่องที่ 6/2562 สัญญาจะซื้อจะขาย กับการฟ้องร้องบังคับคดี

     

หลักกฎหมาย ป.พ.พ. มาตรา  456 การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ถ้ามิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นโมฆะ วิธีนี้ให้ใช้ถึงซื้อขายเรือมีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป ทั้งซื้อขายแพและสัตว์พาหนะด้วย สัญญาจะขายหรือจะซื้อ หรือคำมั่นในการซื้อขายทรัพย์สินตามที่ระบุไว้ในวรรคหนึ่ง ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นสำคัญ หรือได้วางประจำไว้ หรือได้ชำระหนี้บางส่วนแล้ว จะฟ้องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ บทบัญญัติที่กล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บังคับถึงสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ ซึ่งตกลงกันเป็นราคาสองหมื่นบาท หรือกว่านั้นขึ้นไปด้วย

 

มีปัญหาเกี่ยวกับคดีติดต่อน้าสิด  ทนายพงศ์รัตน์  รัตนพงศ์  น.บ.ท. 64    

โทร. (091 8713937)  หรือ อีเมล์ pongrut.ku40@gmail.com  นะครับ


ทนายนุ้ย  สุพรรณี  สนมศรี    (082- 542-2249)  สืบค้นแล้ว การฟ้องร้องบังคับคดีสัญญาจะซื้อจะขาย  มีหลักกฎหมายดังนี้

    สัญญาจะซื้อขายจะฟ้องร้องบังคับกันได้  ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดหรือชำระหนี้บางส่วน  หรือมีการวางมัดจำอย่างใดอย่างหนึ่ง  ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 456 วรรคสอง

    ฎีกาที่  2521/2559  การจะซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกำหนดรูปแบบและหลักฐานในการทำสัญญากันไว้ตาม ป.พ.พ.มาตรา 456 วรรคสอง  โดยหากคู่สัญญาจะทำสัญญาจะซื้อขายให้มีผลทางกฎหมายในการฟ้องร้องบังคับกันได้  ต้องเลือกกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งคือทำหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นสำคัญ หรือวางประจำ หรือมัดจำ หรือมีการชำระหนี้บางส่วน  เมื่อโจทก์และจำเลยเลือกรูปแบบของสัญญาโดยทำสัญญจะซื้อขายหรือสัญญาวางมัดจำกันไว้  ถือเป็นกรณีทำหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใด  โดยลงลายมือชื่อโจทก์และจำเลยไว้เพื่อให้คู่สัญญาฟ้องบังคับฝ่ายที่ผิดสัญญาได้  จึงเป็นกรณีที่หากฟ้องร้องบังคับคดีต้องมีสัญญาจะซื้อขายมาแสดงตาม ป.วิพ.มาตรา 94  ดังนั้น  การที่โจทก์นำสืบพยานบุคคล  ประกอบข้ออ้างเพิ่มเติมว่ายังมีข้อตกลงด้วยวาจาว่าก่อนทำสัญญาจำเลยแจ้งต่อโจทก์ว่ามีถนนทางผ่านเข้าออกไปยังที่ดินพาทเชื่อมกับถนนสาธารณะจึงต้องห้ามตาม ป.วิ.พ.มาตรา 94(ข)

    1.  หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด  กฎหมายมิได้กำหนดรูปแบบไว้  ส่วนใหญ่จะทำในรูปของสัญญาจะซื้อขาย  กรณีผู้ขายฟ้องผู้ซื้อให้รับผิดชำระราคาสินค้าคงอาศัยหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อของผู้ซื้อก็เพียงพอ  ไม่ต้องมีลายมือชื่อของผู้ขาย  (ฎ.2856/2559)

    ฎีกาที่ 3088/2526  โจทก์จำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันเป็นหนังสือ  แม้จะมีการวางมัดจำด้วยก็ถือได้ว่าการวางมัดจำเป็นแต่เพียงข้อสัญญาข้อหนึ่งเท่านั้น  หาใช่ทำสัญญากันด้วยการวางมัดจำไม่  การที่โจทก์นำสืบพยานบุคคลว่ายังมีข้อตกลงเพิ่มเติมว่าจำเลยจะต้องรื้อบ้านหรือไถ่ถอนจำนองก่อนจะมีการโอนกรรมสิทธิ์  จึงเป็นข้อความที่เพิ่มเติมจากสัญญาต้องห้ามมิให้รับฟังและถือไม่ได้ว่ามีข้อตกลงดังกล่าว

    ข้อสังเกต  เรื่องนี้  มีทั้งสัญญาจะซื้อขายและมีการวางมัดจำกันไว้ด้วย  ศาลฎีกาถือว่ามัดจำเป็นเพียงข้อสัญญาข้อหนึ่งเท่านั้น  ดังนั้น ข้อสัญญาต่าง ๆ ก็ต้องถือตามสัญญาจะซื้อขายที่เป็นหนังสือเท่านั้น จะอ้างว่ามีการวางมัดจำเพื่อนำสืบถึงข้อตกลงอื่น ๆ ไม่ได้  แต่ถ้ามีการวางมัดจำกันเพียงอย่างเดียว  ก็ต้องถือว่าสัญญาจะซื้อขายสมบูรณ์โดยการวางมัดจำ  คู่สัญญามีสิทธินำสืบข้อตกลงต่าง ๆ ที่เป็นการทำด้วยวาจาได้

    2.  ทำสัญญาจะซื้อจะขายกันแล้ว  แต่ต่อมามีการทำสัญญาซื้อขายกันอีกฉบับหนึ่ง  ถือว่าสัญญาจะซื้อจะขายเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาซื้อขายจึงมีผลผูกพันคู่สัญญาเช่นกัน  ดูฎีกาที่ 2542/2553

    ฎีกาที่ 2542/2553  สัญญาจะซื้อจะขายเป็นสัญญาเบื้องต้น  การทำสัญญาซื้อขายต่อมาภายหลังก็เพื่อให้เป็นไปตามความประสงค์ในสัญญาจะซื้อจะขายให้มีผลสมบูรณ์  เว้นแต่สัญญาซื้อขายจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกเงื่อนไขข้อตกลงในสัญญาจะซื้อจะขาย  ดังนั้น  สัญญาจะซื้อจะขายจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาซื้อขาย  มีผลผูกพันคู่สัญญาดังเช่นสัญญาซื้อขาย

    3.  การวางมัดจำ  เมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งวางมัดจำแล้ว  ก็สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ไม่เฉพาะฝ่ายที่รับมัดจำเท่านั้น  กล่าวคือ ทั้งฝ่ายที่วางมัดจำและฝ่ายรับมัดจำฟ้องร้องได้

    ฎีกาที่ 7726/2540  แม้การที่โจทก์ตกลงขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยทั้งสอง  จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือ  แต่จำเลยที่ 1  ได้วางมัดจำให้โจทก์เป็นเงิน  10,000 บาท  จำเลยจึงฟ้องบังคับให้โจทก์จดทะเบียนโอนที่ดินแก่จำเลยได้

    ฎีกาที่ 1735/2554    ในการทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินโจทก์วางเงินมัดจำให้แก่จำเลย เป็นเงิน  500,000 บาท  ซึ่งตามสัญญาคู่สัญญาตกลงกันให้เงินมัดจำดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการชำระเงินค่าที่ดินตามสัญญาด้วย  จึงถือเป็นการชำระค่าที่ดินบางส่วน  กรณีเช่นนี้ไม่จำต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ฟ้องร้องบังคับคดีได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง

    4.  การชำระหนี้บางส่วน

    ฎีกาที่ 7735/2555  ในการซื้อขายต้นอ้อยกันนั้นโจทก์และจำเลยไม่ได้ทำหนังสือสัญญาซื้อขายหรือได้มีหลักฐานการซื้อขายเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายโจทก์หรือจำเลยผู้ต้องรับผิดไว้เป็นสำคัญ  แต่ในวันที่ตกลงซื้อขายกันโจทก์ได้ส่งมอบกรรมสิทธิ์ต้นอ้อยให้แก่จำเลยและจำเลยเข้าไปตัดต้นอ้อยของโจทก์ไปขายให้แก่โรงงานน้ำตาล อันถือได้ว่าโจทก์ชำระหนี้ตามสัญญาซื้อขายคือส่งมอบต้นอ้อยให้จำเลยแล้ว  โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับให้จำเลยชำระราคาต้นอ้อยได้

    การชำระราคาหรือส่งมอบทรัพย์ที่ตกลงซื้อขาย  เป็นการชำระหนี้บางส่วนแล้ว  (ฎีกาที่ 950/2525 (ข้างต้น)

    ข้อสังเกต  เมื่อมีการชำระหนี้บางส่วน  สัญญาจะซื้อขายก็มีผลให้บังคับคดีกันได้ทั้งสองฝ่าย  ไม่ได้หมายความว่าฝ่ายที่ได้ชำระหนี้จะมีสิทธิฟ้องร้องบังคับคดีได้ฝ่ายเดียว จากฎีกาทั้งสองเรื่องข้างต้น  แม้จำเลยจะเป็นผู้ชำระหนี้ให้โจทก์โดยการส่งมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครอง  โจทก์ก็มีสิทธิฟ้องร้องให้จำเลยจดทะเบียนโอนที่ดินให้ตนได้

    ฎีกาที่ 3522/2545  ตามบทบัญญัติ  ป.พ.พ.มาตรา 456  คำว่า  “ได้มีการชำระหนี้บางส่วนแล้ว”  ตามวรรคสองนั้น  กฎหมายมุ่งบัญญัติให้ใช้บังคับแก่คู่สัญญาทั้งฝ่ายผู้ขายและผู้ซื้อ ดังนั้น หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้ชำระหนี้ส่วนของตนไปแล้วก็ย่อมจะเรียกร้องเอาสิทธิที่ตนจะได้รับจากอีกฝ่ายหนึ่งได้เพราะสัญญาซื้อขายเป็นสัญญาต่างตอบแทน  เมื่อโจทก์ผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าของตนให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฝ่ายผู้ซื้อแล้ว  จึงถือได้ว่าโจทก์ได้ชำระหนี้ส่วนของตนแล้ว  โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องให้จำเลยชำระค่าสินค้าแก่โจทก์ได้

    ฎีกาที่ 1214/2498  ตกลงจะซื้อขายที่ดินด้วยวาจา  ผู้จะซื้อเข้าปลูกส้มในที่ดินให้ผู้จะขายเก็บผล 5 ปี  นับเป็นเงินส่วนหนึ่งของราคาซื้อขายตามสัญญาแล้ว  ผู้จะซื้อบังคับให้โอนขายได้

    5.  สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินซึ่งผู้ซื้อได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว  และผู้ขายได้ส่งมอบการครอบครองที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ  แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนการโอน  ถือว่าผู้ขายมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่ผู้ซื้อเกี่ยวด้วยที่ดินซึ่งครองอยู่นั้น  ผู้ซื้อย่อมมีสิทธิยึดหน่วงที่ดินนั้นเพื่อบังคับผู้ขายไปจดทะเบียนโอน  ดังนี้  แม้หนี้ตามสัญญาจะซื้อขายจะขาดอายุความ 10 ปี  ตามมาตรา 193/30  ผู้ซื้อก็มีสิทธิฟ้องบังคับให้ผู้ขายจดทะเบียนโอนได้ตามมาตรา 193/27  ดูฎีกาที่ 6230/2556

    ฎีกาที่ 6230/2556  โจทก์และจำเลยทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทแล้ว โจทก์ชำระราคาที่ดินพิพาทแก่จำเลยครบถ้วน  และจำเลยส่งมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ ทั้งโจทก์ก็ได้เข้าครอบครองที่ดินพิพาททำประโยชน์ในที่ดินตลอดมา  เพียงแต่ยังมิได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทแก่โจทก์  จำเลยยังมีหนี้ที่จะต้องชำระแก่โจทก์คือการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทซึ่งเป็นหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่โจทก์เกี่ยวด้วยที่ดินพิพาทซึ่งครองอยู่นั้น  โจทก์จะยึดหน่วงที่ดินพิพาทไว้จนกว่าจำเลยจะจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทแก่โจทก์  โจทก์จึงเป็นผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงที่ดินพิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา 241  แม้คดีโจทก์ตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทจะขาดอายุความตามมาตรา 193/30  ประกอบมาตรา 193/9  ก็ตาม แต่การที่โจทก์เป็นผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงเหนือที่ดินพิพาทของจำเลย  โจทก์ยังคงมีสิทธิบังคับชำระหนี้โดยเรียกให้จำเลยจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทซึ่งโจทก์ยึดถือไว้ได้ตามมาตรา 193/27

    การซื้อขายสังหาริมทรัพย์ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นไป

    หลักเกณฑ์การฟ้องร้องบังคับคดีตามสัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์  ตามมาตรา 456 วรรคสอง  ให้นำไปใช้กับการซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นไปด้วยตามมาตรา 456 วรรคสาม  ดูฎีกาที่ 6443/2544

    ฎีกาที่ 6443/2544  ตาม ป.พ.พ.มาตรา 456 วรรคสองและวรรคสาม  นอกจากจะบัญญัติให้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสำคัญจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้แล้วยังได้บัญญัติไว้อีกว่า  หรือได้วางประจำหรือชำระหนี้บางส่วนแล้วก็ย่อมฟ้องร้องบังคับคดีกันได้เช่นกัน  แม้คดีจะไม่ได้ความว่าในการสั่งซื้อสินค้าโจทก์จำเลยได้ทำหนังสือสัญญาซื้อขายกันก็ตาม  แต่โจทก์ได้ส่งสินค้าให้จำเลยแล้วอันถือได้ว่าได้มีการชำระหนี้ตามสัญญาซื้อขาย  โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องบังคับให้จำเลยชำระราคาสินค้าได้ตามาตรา 456 จำเลยจึงนำสืบพยานบุคคลได้ว่าการซื้อขายมีข้อตกลงว่าอย่างไร

ทนายนุ้ย  สุพรรณี  สนมศรี    (082- 542-2249)  สืบค้นแล้ว การฟ้องร้องบังคับคดีสัญญาจะซื้อจะขาย  มีหลักกฎหมายดังนี้

    สัญญาจะซื้อขายจะฟ้องร้องบังคับกันได้  ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดหรือชำระหนี้บางส่วน  หรือมีการวางมัดจำอย่างใดอย่างหนึ่ง  ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 456 วรรคสอง

    ฎีกาที่  2521/2559  การจะซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกำหนดรูปแบบและหลักฐานในการทำสัญญากันไว้ตาม ป.พ.พ.มาตรา 456 วรรคสอง  โดยหากคู่สัญญาจะทำสัญญาจะซื้อขายให้มีผลทางกฎหมายในการฟ้องร้องบังคับกันได้  ต้องเลือกกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งคือทำหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นสำคัญ หรือวางประจำ หรือมัดจำ หรือมีการชำระหนี้บางส่วน  เมื่อโจทก์และจำเลยเลือกรูปแบบของสัญญาโดยทำสัญญจะซื้อขายหรือสัญญาวางมัดจำกันไว้  ถือเป็นกรณีทำหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใด  โดยลงลายมือชื่อโจทก์และจำเลยไว้เพื่อให้คู่สัญญาฟ้องบังคับฝ่ายที่ผิดสัญญาได้  จึงเป็นกรณีที่หากฟ้องร้องบังคับคดีต้องมีสัญญาจะซื้อขายมาแสดงตาม ป.วิพ.มาตรา 94  ดังนั้น  การที่โจทก์นำสืบพยานบุคคล  ประกอบข้ออ้างเพิ่มเติมว่ายังมีข้อตกลงด้วยวาจาว่าก่อนทำสัญญาจำเลยแจ้งต่อโจทก์ว่ามีถนนทางผ่านเข้าออกไปยังที่ดินพาทเชื่อมกับถนนสาธารณะจึงต้องห้ามตาม ป.วิ.พ.มาตรา 94(ข)

    1.  หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด  กฎหมายมิได้กำหนดรูปแบบไว้  ส่วนใหญ่จะทำในรูปของสัญญาจะซื้อขาย  กรณีผู้ขายฟ้องผู้ซื้อให้รับผิดชำระราคาสินค้าคงอาศัยหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อของผู้ซื้อก็เพียงพอ  ไม่ต้องมีลายมือชื่อของผู้ขาย  (ฎ.2856/2559)

    ฎีกาที่ 3088/2526  โจทก์จำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันเป็นหนังสือ  แม้จะมีการวางมัดจำด้วยก็ถือได้ว่าการวางมัดจำเป็นแต่เพียงข้อสัญญาข้อหนึ่งเท่านั้น  หาใช่ทำสัญญากันด้วยการวางมัดจำไม่  การที่โจทก์นำสืบพยานบุคคลว่ายังมีข้อตกลงเพิ่มเติมว่าจำเลยจะต้องรื้อบ้านหรือไถ่ถอนจำนองก่อนจะมีการโอนกรรมสิทธิ์  จึงเป็นข้อความที่เพิ่มเติมจากสัญญาต้องห้ามมิให้รับฟังและถือไม่ได้ว่ามีข้อตกลงดังกล่าว

    ข้อสังเกต  เรื่องนี้  มีทั้งสัญญาจะซื้อขายและมีการวางมัดจำกันไว้ด้วย  ศาลฎีกาถือว่ามัดจำเป็นเพียงข้อสัญญาข้อหนึ่งเท่านั้น  ดังนั้น ข้อสัญญาต่าง ๆ ก็ต้องถือตามสัญญาจะซื้อขายที่เป็นหนังสือเท่านั้น จะอ้างว่ามีการวางมัดจำเพื่อนำสืบถึงข้อตกลงอื่น ๆ ไม่ได้  แต่ถ้ามีการวางมัดจำกันเพียงอย่างเดียว  ก็ต้องถือว่าสัญญาจะซื้อขายสมบูรณ์โดยการวางมัดจำ  คู่สัญญามีสิทธินำสืบข้อตกลงต่าง ๆ ที่เป็นการทำด้วยวาจาได้

    2.  ทำสัญญาจะซื้อจะขายกันแล้ว  แต่ต่อมามีการทำสัญญาซื้อขายกันอีกฉบับหนึ่ง  ถือว่าสัญญาจะซื้อจะขายเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาซื้อขายจึงมีผลผูกพันคู่สัญญาเช่นกัน  ดูฎีกาที่ 2542/2553

    ฎีกาที่ 2542/2553  สัญญาจะซื้อจะขายเป็นสัญญาเบื้องต้น  การทำสัญญาซื้อขายต่อมาภายหลังก็เพื่อให้เป็นไปตามความประสงค์ในสัญญาจะซื้อจะขายให้มีผลสมบูรณ์  เว้นแต่สัญญาซื้อขายจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกเงื่อนไขข้อตกลงในสัญญาจะซื้อจะขาย  ดังนั้น  สัญญาจะซื้อจะขายจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาซื้อขาย  มีผลผูกพันคู่สัญญาดังเช่นสัญญาซื้อขาย

    3.  การวางมัดจำ  เมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งวางมัดจำแล้ว  ก็สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ไม่เฉพาะฝ่ายที่รับมัดจำเท่านั้น  กล่าวคือ ทั้งฝ่ายที่วางมัดจำและฝ่ายรับมัดจำฟ้องร้องได้

    ฎีกาที่ 7726/2540  แม้การที่โจทก์ตกลงขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยทั้งสอง  จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือ  แต่จำเลยที่ 1  ได้วางมัดจำให้โจทก์เป็นเงิน  10,000 บาท  จำเลยจึงฟ้องบังคับให้โจทก์จดทะเบียนโอนที่ดินแก่จำเลยได้

    ฎีกาที่ 1735/2554    ในการทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินโจทก์วางเงินมัดจำให้แก่จำเลย เป็นเงิน  500,000 บาท  ซึ่งตามสัญญาคู่สัญญาตกลงกันให้เงินมัดจำดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการชำระเงินค่าที่ดินตามสัญญาด้วย  จึงถือเป็นการชำระค่าที่ดินบางส่วน  กรณีเช่นนี้ไม่จำต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ฟ้องร้องบังคับคดีได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง

    4.  การชำระหนี้บางส่วน

    ฎีกาที่ 7735/2555  ในการซื้อขายต้นอ้อยกันนั้นโจทก์และจำเลยไม่ได้ทำหนังสือสัญญาซื้อขายหรือได้มีหลักฐานการซื้อขายเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายโจทก์หรือจำเลยผู้ต้องรับผิดไว้เป็นสำคัญ  แต่ในวันที่ตกลงซื้อขายกันโจทก์ได้ส่งมอบกรรมสิทธิ์ต้นอ้อยให้แก่จำเลยและจำเลยเข้าไปตัดต้นอ้อยของโจทก์ไปขายให้แก่โรงงานน้ำตาล อันถือได้ว่าโจทก์ชำระหนี้ตามสัญญาซื้อขายคือส่งมอบต้นอ้อยให้จำเลยแล้ว  โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับให้จำเลยชำระราคาต้นอ้อยได้

    การชำระราคาหรือส่งมอบทรัพย์ที่ตกลงซื้อขาย  เป็นการชำระหนี้บางส่วนแล้ว  (ฎีกาที่ 950/2525 (ข้างต้น)

    ข้อสังเกต  เมื่อมีการชำระหนี้บางส่วน  สัญญาจะซื้อขายก็มีผลให้บังคับคดีกันได้ทั้งสองฝ่าย  ไม่ได้หมายความว่าฝ่ายที่ได้ชำระหนี้จะมีสิทธิฟ้องร้องบังคับคดีได้ฝ่ายเดียว จากฎีกาทั้งสองเรื่องข้างต้น  แม้จำเลยจะเป็นผู้ชำระหนี้ให้โจทก์โดยการส่งมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครอง  โจทก์ก็มีสิทธิฟ้องร้องให้จำเลยจดทะเบียนโอนที่ดินให้ตนได้

    ฎีกาที่ 3522/2545  ตามบทบัญญัติ  ป.พ.พ.มาตรา 456  คำว่า  “ได้มีการชำระหนี้บางส่วนแล้ว”  ตามวรรคสองนั้น  กฎหมายมุ่งบัญญัติให้ใช้บังคับแก่คู่สัญญาทั้งฝ่ายผู้ขายและผู้ซื้อ ดังนั้น หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้ชำระหนี้ส่วนของตนไปแล้วก็ย่อมจะเรียกร้องเอาสิทธิที่ตนจะได้รับจากอีกฝ่ายหนึ่งได้เพราะสัญญาซื้อขายเป็นสัญญาต่างตอบแทน  เมื่อโจทก์ผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าของตนให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฝ่ายผู้ซื้อแล้ว  จึงถือได้ว่าโจทก์ได้ชำระหนี้ส่วนของตนแล้ว  โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องให้จำเลยชำระค่าสินค้าแก่โจทก์ได้

    ฎีกาที่ 1214/2498  ตกลงจะซื้อขายที่ดินด้วยวาจา  ผู้จะซื้อเข้าปลูกส้มในที่ดินให้ผู้จะขายเก็บผล 5 ปี  นับเป็นเงินส่วนหนึ่งของราคาซื้อขายตามสัญญาแล้ว  ผู้จะซื้อบังคับให้โอนขายได้

    5.  สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินซึ่งผู้ซื้อได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว  และผู้ขายได้ส่งมอบการครอบครองที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ  แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนการโอน  ถือว่าผู้ขายมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่ผู้ซื้อเกี่ยวด้วยที่ดินซึ่งครองอยู่นั้น  ผู้ซื้อย่อมมีสิทธิยึดหน่วงที่ดินนั้นเพื่อบังคับผู้ขายไปจดทะเบียนโอน  ดังนี้  แม้หนี้ตามสัญญาจะซื้อขายจะขาดอายุความ 10 ปี  ตามมาตรา 193/30  ผู้ซื้อก็มีสิทธิฟ้องบังคับให้ผู้ขายจดทะเบียนโอนได้ตามมาตรา 193/27  ดูฎีกาที่ 6230/2556

    ฎีกาที่ 6230/2556  โจทก์และจำเลยทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทแล้ว โจทก์ชำระราคาที่ดินพิพาทแก่จำเลยครบถ้วน  และจำเลยส่งมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ ทั้งโจทก์ก็ได้เข้าครอบครองที่ดินพิพาททำประโยชน์ในที่ดินตลอดมา  เพียงแต่ยังมิได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทแก่โจทก์  จำเลยยังมีหนี้ที่จะต้องชำระแก่โจทก์คือการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทซึ่งเป็นหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่โจทก์เกี่ยวด้วยที่ดินพิพาทซึ่งครองอยู่นั้น  โจทก์จะยึดหน่วงที่ดินพิพาทไว้จนกว่าจำเลยจะจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทแก่โจทก์  โจทก์จึงเป็นผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงที่ดินพิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา 241  แม้คดีโจทก์ตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทจะขาดอายุความตามมาตรา 193/30  ประกอบมาตรา 193/9  ก็ตาม แต่การที่โจทก์เป็นผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงเหนือที่ดินพิพาทของจำเลย  โจทก์ยังคงมีสิทธิบังคับชำระหนี้โดยเรียกให้จำเลยจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทซึ่งโจทก์ยึดถือไว้ได้ตามมาตรา 193/27

    การซื้อขายสังหาริมทรัพย์ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นไป

    หลักเกณฑ์การฟ้องร้องบังคับคดีตามสัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์  ตามมาตรา 456 วรรคสอง  ให้นำไปใช้กับการซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นไปด้วยตามมาตรา 456 วรรคสาม  ดูฎีกาที่ 6443/2544

    ฎีกาที่ 6443/2544  ตาม ป.พ.พ.มาตรา 456 วรรคสองและวรรคสาม  นอกจากจะบัญญัติให้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสำคัญจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้แล้วยังได้บัญญัติไว้อีกว่า  หรือได้วางประจำหรือชำระหนี้บางส่วนแล้วก็ย่อมฟ้องร้องบังคับคดีกันได้เช่นกัน  แม้คดีจะไม่ได้ความว่าในการสั่งซื้อสินค้าโจทก์จำเลยได้ทำหนังสือสัญญาซื้อขายกันก็ตาม  แต่โจทก์ได้ส่งสินค้าให้จำเลยแล้วอันถือได้ว่าได้มีการชำระหนี้ตามสัญญาซื้อขาย  โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องบังคับให้จำเลยชำระราคาสินค้าได้ตามาตรา 456 จำเลยจึงนำสืบพยานบุคคลได้ว่าการซื้อขายมีข้อตกลงว่าอย่างไร

ทนายนุ้ย  สุพรรณี  สนมศรี    (082- 542-2249)  สืบค้นแล้ว การฟ้องร้องบังคับคดีสัญญาจะซื้อจะขาย  มีหลักกฎหมายดังนี้

    สัญญาจะซื้อขายจะฟ้องร้องบังคับกันได้  ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดหรือชำระหนี้บางส่วน  หรือมีการวางมัดจำอย่างใดอย่างหนึ่ง  ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 456 วรรคสอง

    ฎีกาที่  2521/2559  การจะซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกำหนดรูปแบบและหลักฐานในการทำสัญญากันไว้ตาม ป.พ.พ.มาตรา 456 วรรคสอง  โดยหากคู่สัญญาจะทำสัญญาจะซื้อขายให้มีผลทางกฎหมายในการฟ้องร้องบังคับกันได้  ต้องเลือกกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งคือทำหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายผู้ต้องรับผิดเป็นสำคัญ หรือวางประจำ หรือมัดจำ หรือมีการชำระหนี้บางส่วน  เมื่อโจทก์และจำเลยเลือกรูปแบบของสัญญาโดยทำสัญญจะซื้อขายหรือสัญญาวางมัดจำกันไว้  ถือเป็นกรณีทำหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใด  โดยลงลายมือชื่อโจทก์และจำเลยไว้เพื่อให้คู่สัญญาฟ้องบังคับฝ่ายที่ผิดสัญญาได้  จึงเป็นกรณีที่หากฟ้องร้องบังคับคดีต้องมีสัญญาจะซื้อขายมาแสดงตาม ป.วิพ.มาตรา 94  ดังนั้น  การที่โจทก์นำสืบพยานบุคคล  ประกอบข้ออ้างเพิ่มเติมว่ายังมีข้อตกลงด้วยวาจาว่าก่อนทำสัญญาจำเลยแจ้งต่อโจทก์ว่ามีถนนทางผ่านเข้าออกไปยังที่ดินพาทเชื่อมกับถนนสาธารณะจึงต้องห้ามตาม ป.วิ.พ.มาตรา 94(ข)

    1.  หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด  กฎหมายมิได้กำหนดรูปแบบไว้  ส่วนใหญ่จะทำในรูปของสัญญาจะซื้อขาย  กรณีผู้ขายฟ้องผู้ซื้อให้รับผิดชำระราคาสินค้าคงอาศัยหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อของผู้ซื้อก็เพียงพอ  ไม่ต้องมีลายมือชื่อของผู้ขาย  (ฎ.2856/2559)

    ฎีกาที่ 3088/2526  โจทก์จำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันเป็นหนังสือ  แม้จะมีการวางมัดจำด้วยก็ถือได้ว่าการวางมัดจำเป็นแต่เพียงข้อสัญญาข้อหนึ่งเท่านั้น  หาใช่ทำสัญญากันด้วยการวางมัดจำไม่  การที่โจทก์นำสืบพยานบุคคลว่ายังมีข้อตกลงเพิ่มเติมว่าจำเลยจะต้องรื้อบ้านหรือไถ่ถอนจำนองก่อนจะมีการโอนกรรมสิทธิ์  จึงเป็นข้อความที่เพิ่มเติมจากสัญญาต้องห้ามมิให้รับฟังและถือไม่ได้ว่ามีข้อตกลงดังกล่าว

    ข้อสังเกต  เรื่องนี้  มีทั้งสัญญาจะซื้อขายและมีการวางมัดจำกันไว้ด้วย  ศาลฎีกาถือว่ามัดจำเป็นเพียงข้อสัญญาข้อหนึ่งเท่านั้น  ดังนั้น ข้อสัญญาต่าง ๆ ก็ต้องถือตามสัญญาจะซื้อขายที่เป็นหนังสือเท่านั้น จะอ้างว่ามีการวางมัดจำเพื่อนำสืบถึงข้อตกลงอื่น ๆ ไม่ได้  แต่ถ้ามีการวางมัดจำกันเพียงอย่างเดียว  ก็ต้องถือว่าสัญญาจะซื้อขายสมบูรณ์โดยการวางมัดจำ  คู่สัญญามีสิทธินำสืบข้อตกลงต่าง ๆ ที่เป็นการทำด้วยวาจาได้

    2.  ทำสัญญาจะซื้อจะขายกันแล้ว  แต่ต่อมามีการทำสัญญาซื้อขายกันอีกฉบับหนึ่ง  ถือว่าสัญญาจะซื้อจะขายเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาซื้อขายจึงมีผลผูกพันคู่สัญญาเช่นกัน  ดูฎีกาที่ 2542/2553

    ฎีกาที่ 2542/2553  สัญญาจะซื้อจะขายเป็นสัญญาเบื้องต้น  การทำสัญญาซื้อขายต่อมาภายหลังก็เพื่อให้เป็นไปตามความประสงค์ในสัญญาจะซื้อจะขายให้มีผลสมบูรณ์  เว้นแต่สัญญาซื้อขายจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกเงื่อนไขข้อตกลงในสัญญาจะซื้อจะขาย  ดังนั้น  สัญญาจะซื้อจะขายจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาซื้อขาย  มีผลผูกพันคู่สัญญาดังเช่นสัญญาซื้อขาย

    3.  การวางมัดจำ  เมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งวางมัดจำแล้ว  ก็สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ไม่เฉพาะฝ่ายที่รับมัดจำเท่านั้น  กล่าวคือ ทั้งฝ่ายที่วางมัดจำและฝ่ายรับมัดจำฟ้องร้องได้

    ฎีกาที่ 7726/2540  แม้การที่โจทก์ตกลงขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยทั้งสอง  จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือ  แต่จำเลยที่ 1  ได้วางมัดจำให้โจทก์เป็นเงิน  10,000 บาท  จำเลยจึงฟ้องบังคับให้โจทก์จดทะเบียนโอนที่ดินแก่จำเลยได้

    ฎีกาที่ 1735/2554    ในการทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินโจทก์วางเงินมัดจำให้แก่จำเลย เป็นเงิน  500,000 บาท  ซึ่งตามสัญญาคู่สัญญาตกลงกันให้เงินมัดจำดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการชำระเงินค่าที่ดินตามสัญญาด้วย  จึงถือเป็นการชำระค่าที่ดินบางส่วน  กรณีเช่นนี้ไม่จำต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ฟ้องร้องบังคับคดีได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคสอง

    4.  การชำระหนี้บางส่วน

    ฎีกาที่ 7735/2555  ในการซื้อขายต้นอ้อยกันนั้นโจทก์และจำเลยไม่ได้ทำหนังสือสัญญาซื้อขายหรือได้มีหลักฐานการซื้อขายเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายโจทก์หรือจำเลยผู้ต้องรับผิดไว้เป็นสำคัญ  แต่ในวันที่ตกลงซื้อขายกันโจทก์ได้ส่งมอบกรรมสิทธิ์ต้นอ้อยให้แก่จำเลยและจำเลยเข้าไปตัดต้นอ้อยของโจทก์ไปขายให้แก่โรงงานน้ำตาล อันถือได้ว่าโจทก์ชำระหนี้ตามสัญญาซื้อขายคือส่งมอบต้นอ้อยให้จำเลยแล้ว  โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับให้จำเลยชำระราคาต้นอ้อยได้

    การชำระราคาหรือส่งมอบทรัพย์ที่ตกลงซื้อขาย  เป็นการชำระหนี้บางส่วนแล้ว  (ฎีกาที่ 950/2525 (ข้างต้น)

    ข้อสังเกต  เมื่อมีการชำระหนี้บางส่วน  สัญญาจะซื้อขายก็มีผลให้บังคับคดีกันได้ทั้งสองฝ่าย  ไม่ได้หมายความว่าฝ่ายที่ได้ชำระหนี้จะมีสิทธิฟ้องร้องบังคับคดีได้ฝ่ายเดียว จากฎีกาทั้งสองเรื่องข้างต้น  แม้จำเลยจะเป็นผู้ชำระหนี้ให้โจทก์โดยการส่งมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครอง  โจทก์ก็มีสิทธิฟ้องร้องให้จำเลยจดทะเบียนโอนที่ดินให้ตนได้

    ฎีกาที่ 3522/2545  ตามบทบัญญัติ  ป.พ.พ.มาตรา 456  คำว่า  “ได้มีการชำระหนี้บางส่วนแล้ว”  ตามวรรคสองนั้น  กฎหมายมุ่งบัญญัติให้ใช้บังคับแก่คู่สัญญาทั้งฝ่ายผู้ขายและผู้ซื้อ ดังนั้น หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้ชำระหนี้ส่วนของตนไปแล้วก็ย่อมจะเรียกร้องเอาสิทธิที่ตนจะได้รับจากอีกฝ่ายหนึ่งได้เพราะสัญญาซื้อขายเป็นสัญญาต่างตอบแทน  เมื่อโจทก์ผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าของตนให้แก่จำเลยซึ่งเป็นฝ่ายผู้ซื้อแล้ว  จึงถือได้ว่าโจทก์ได้ชำระหนี้ส่วนของตนแล้ว  โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องให้จำเลยชำระค่าสินค้าแก่โจทก์ได้

    ฎีกาที่ 1214/2498  ตกลงจะซื้อขายที่ดินด้วยวาจา  ผู้จะซื้อเข้าปลูกส้มในที่ดินให้ผู้จะขายเก็บผล 5 ปี  นับเป็นเงินส่วนหนึ่งของราคาซื้อขายตามสัญญาแล้ว  ผู้จะซื้อบังคับให้โอนขายได้

    5.  สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินซึ่งผู้ซื้อได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว  และผู้ขายได้ส่งมอบการครอบครองที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ  แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนการโอน  ถือว่าผู้ขายมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่ผู้ซื้อเกี่ยวด้วยที่ดินซึ่งครองอยู่นั้น  ผู้ซื้อย่อมมีสิทธิยึดหน่วงที่ดินนั้นเพื่อบังคับผู้ขายไปจดทะเบียนโอน  ดังนี้  แม้หนี้ตามสัญญาจะซื้อขายจะขาดอายุความ 10 ปี  ตามมาตรา 193/30  ผู้ซื้อก็มีสิทธิฟ้องบังคับให้ผู้ขายจดทะเบียนโอนได้ตามมาตรา 193/27  ดูฎีกาที่ 6230/2556

    ฎีกาที่ 6230/2556  โจทก์และจำเลยทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทแล้ว โจทก์ชำระราคาที่ดินพิพาทแก่จำเลยครบถ้วน  และจำเลยส่งมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ ทั้งโจทก์ก็ได้เข้าครอบครองที่ดินพิพาททำประโยชน์ในที่ดินตลอดมา  เพียงแต่ยังมิได้จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทแก่โจทก์  จำเลยยังมีหนี้ที่จะต้องชำระแก่โจทก์คือการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทซึ่งเป็นหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่โจทก์เกี่ยวด้วยที่ดินพิพาทซึ่งครองอยู่นั้น  โจทก์จะยึดหน่วงที่ดินพิพาทไว้จนกว่าจำเลยจะจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทแก่โจทก์  โจทก์จึงเป็นผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงที่ดินพิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา 241  แม้คดีโจทก์ตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทจะขาดอายุความตามมาตรา 193/30  ประกอบมาตรา 193/9  ก็ตาม แต่การที่โจทก์เป็นผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงเหนือที่ดินพิพาทของจำเลย  โจทก์ยังคงมีสิทธิบังคับชำระหนี้โดยเรียกให้จำเลยจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทซึ่งโจทก์ยึดถือไว้ได้ตามมาตรา 193/27

    การซื้อขายสังหาริมทรัพย์ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นไป

    หลักเกณฑ์การฟ้องร้องบังคับคดีตามสัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์  ตามมาตรา 456 วรรคสอง  ให้นำไปใช้กับการซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นไปด้วยตามมาตรา 456 วรรคสาม  ดูฎีกาที่ 6443/2544

    ฎีกาที่ 6443/2544  ตาม ป.พ.พ.มาตรา 456 วรรคสองและวรรคสาม  นอกจากจะบัญญัติให้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสำคัญจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้แล้วยังได้บัญญัติไว้อีกว่า  หรือได้วางประจำหรือชำระหนี้บางส่วนแล้วก็ย่อมฟ้องร้องบังคับคดีกันได้เช่นกัน  แม้คดีจะไม่ได้ความว่าในการสั่งซื้อสินค้าโจทก์จำเลยได้ทำหนังสือสัญญาซื้อขายกันก็ตาม  แต่โจทก์ได้ส่งสินค้าให้จำเลยแล้วอันถือได้ว่าได้มีการชำระหนี้ตามสัญญาซื้อขาย  โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องบังคับให้จำเลยชำระราคาสินค้าได้ตามาตรา 456 จำเลยจึงนำสืบพยานบุคคลได้ว่าการซื้อขายมีข้อตกลงว่าอย่างไร

PsthaiLaw.com   (091 871 3937)   นำเนื้อหาจากหนังสือแพ่งพิสดาร  ของอาจารย์วิเชียร  

ดิเรกอุดมศักดิ์   มาเรียบเรียงเป็นบทความนี้เพื่อเผยแพร่ความรู้กฎหมายสู่ประชาชน 

ติดต่อ ทนายศักดิ์ชาย  ทุ่งโชคชัย    น.บ.ท.59    โทร. (097 2590623)

ติดต่อ ทนายวิเชียร  สุภายุทธ        น.บ.ท.65     โทร. (081 4559532)

ติดต่อ ทนายนุ้ย สุพรรณี  สนมศรี    น.บ.ท.71     โทร. (082 5422249)

ติดต่อ ทนายพีระพล  กนกเกษมโรจน์                โทร. (086 1044545)

ติดต่อ ทนายหนูเพียร  สามนต์                         โทร. (093 2591669)

ติดต่อน้าสิด ทนายพงศ์รัตน์  รัตนพงศ์               โทร. (091 8713937)

ติดต่อ ทนายอัม ปิยะอัมพร สุกเเก้ว                   โทร. (061 5619514)